หากนับถอยหลังไปเมื่อปี 2542 จนถึงวันนี้เป็นเวลากว่า 15 ปีที่กรุงเทพฯเริ่มมีการใช้รถไฟฟ้า แม้ในปัจจุบันจะมีเพียง 4 เส้นทาง 60 สถานีและมีระยะทางเพียง 86.52 กิโลเมตร ก็ตาม แต่ก็มีอีกหลายโครงการที่กำลังก่อสร้าง วางแผนการประมูล ดำเนินการ
ซึ่งคาดว่ากรุงเทพมหานครจะมีรถไฟฟ้า-รถไฟฟ้าใต้ดินเชื่อมโยงทั่วทุกพื้นที่ภายในปี 2572 แต่มีแผนเร่งรัดการดำเนินการพยายามให้เสร็จภายในปี 2562 ซึ่งจะเร็วกว่ากำหนดเดิม 10 ปี ทีมงาน Mthai News ขอนำแผนที่ฉบับเต็มอีก 15 ปีข้างหน้า หากรถไฟฟ้าครบทั่วพื้นที่กรุงเทพฯจะเป็นอย่างไร
คราวนี้มาลองดูรายละเอียดของแต่ละสายที่ทั้งหมดดีกว่า
1.สีแดงเข้ม (รถไฟฟ้าชานเมือง)
- ธรรมศาสตร์ – บางซื่อ
- บางซื่อ – หัวลำโพง
- หัวลำโพง – บางบอน
- บางบอน – มหาชัย
- ธรรมศาสตร์ – บางซื่อ
- บางซื่อ – หัวลำโพง
- หัวลำโพง – บางบอน
- บางบอน – มหาชัย
2.สีแดงอ่อน (รถไฟฟ้าชานเมือง)
- ศาลายา – ตลิ่งชัน
- ตลิ่งชัน – บางซื่อ
- บางซื่อ – พญาไท – มักกะสัน
- มักกะสัน – หัวหมาก
- มักกะสัน – บางบำหรุ
- ศาลายา – ตลิ่งชัน
- ตลิ่งชัน – บางซื่อ
- บางซื่อ – พญาไท – มักกะสัน
- มักกะสัน – หัวหมาก
- มักกะสัน – บางบำหรุ
3.แอร์พอร์ตเรลลิงก์
- สุวรรณภูมิ – พญาไท
- พญาไทย- บางซื่อ
4. สีเขียวเข้ม (รถไฟฟ้ายกระดับ)
- ลำลูกกา – คูคต
- คูคต – สะพานใหม่
- สะพานใหม่ – หมอชิต
- หมอชิต – อ่อนนุช
- อ่อนนุช – แบริ่ง
- อุดมสุข – สุวรรณภูมิ
- ธนาซิตี้ – วัดศรีวาน้อย
- แบริ่ง – สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ – บางปู
- สุวรรณภูมิ – พญาไท
- พญาไทย- บางซื่อ
4. สีเขียวเข้ม (รถไฟฟ้ายกระดับ)
- ลำลูกกา – คูคต
- คูคต – สะพานใหม่
- สะพานใหม่ – หมอชิต
- หมอชิต – อ่อนนุช
- อ่อนนุช – แบริ่ง
- อุดมสุข – สุวรรณภูมิ
- ธนาซิตี้ – วัดศรีวาน้อย
- แบริ่ง – สมุทรปราการ
- สมุทรปราการ – บางปู
5.สีเขียวอ่อน (รถไฟฟ้ายกระดับ)
ตลิ่งชัน – บางหว้า
บางหว้า – วงเวียนใหญ่
วงเวียนใหญ่ – สะพานตากสิน
สะพานตากสิน – สนามกีฬาแห่งชาติ
สนามกีฬาแห่งชาติ – ยศเส
6.สีน้ำเงิน (รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ)
ท่าพระ – บางซื่อ
บางซื่อ – หัวลำโพง
หัวลำโพง – ท่าพระ – บางแค
บางแค – พุทธมณฑลสาย 4
ตลิ่งชัน – บางหว้า
บางหว้า – วงเวียนใหญ่
วงเวียนใหญ่ – สะพานตากสิน
สะพานตากสิน – สนามกีฬาแห่งชาติ
สนามกีฬาแห่งชาติ – ยศเส
6.สีน้ำเงิน (รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ)
ท่าพระ – บางซื่อ
บางซื่อ – หัวลำโพง
หัวลำโพง – ท่าพระ – บางแค
บางแค – พุทธมณฑลสาย 4
7.สีม่วง (รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ)
บางใหญ่ – บางซื่อ
บางซื่อ – ราษฎร์บูรณะ
บางใหญ่ – บางซื่อ
บางซื่อ – ราษฎร์บูรณะ
8.สีส้ม (รถไฟฟ้าใต้ดินและยกระดับ)
ตลิ่งชัน – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – บางกะปิ
บางกะปิ – มีนบุรี
ตลิ่งชัน – ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย – บางกะปิ
บางกะปิ – มีนบุรี
9.สีชมพู
แคราย – ปากเกร็ด
ปากเกร็ด – หลักสี่
หลักสี่ – วงแหวนรอบนอก
วงแหวนรอบนอก – มีนบุรี
แคราย – ปากเกร็ด
ปากเกร็ด – หลักสี่
หลักสี่ – วงแหวนรอบนอก
วงแหวนรอบนอก – มีนบุรี
10.สีเหลือง
ลาดพร้าว – พัฒนาการ
พัฒนาการ – สำโรง
ลาดพร้าว – พัฒนาการ
พัฒนาการ – สำโรง
11.สีน้ำตาล
แคราย – บึงกุ่ม
แคราย – บึงกุ่ม
12.สีเทา
วัชรพล – ลาดพร้าว
ลาดพร้าว – พระราม 4
พระราม 4 – สะพานพระราม 9
13.สีฟ้า
ดินแดง – สาธร
วัชรพล – ลาดพร้าว
ลาดพร้าว – พระราม 4
พระราม 4 – สะพานพระราม 9
13.สีฟ้า
ดินแดง – สาธร
อย่างไรก็ตามมีการคาดการณ์ว่าหากรถไฟฟ้าเสร็จครบหมดทุกสายก็ช่วยแก้ไขปัญหาจราจรได้มากยิ่งขึ้น ซึ่งหวังว่าคนจะมาใช้ขนส่งสาธารณะแทนรถยนต์ส่วนตัว นอกจากนี้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์บ้านและคอนโดที่ตั้งโครงการใกล้กับเส้นทางดังกล่าวก็ได้รับอานิสงค์ไปด้วยเพราะจะกลายเป็นทำเลทองที่ราคาดีมากขึ้นเป็นเท่าตัว บางโครงการมีการเปิดจองตั้งแต่รถไฟฟ้ายังไม่เริ่มประมูลเลยด้วยซ้ำ ซึ่งเราก็ได้แต่นับวันรออีกไม่เกิน 15 ปีข้างหน้า รถไฟฟ้าจะเสร็จครบจริงหรือไม่ ?
Facebook
Blogger Comment